Page 22 - คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (อาร์เซ็ป)
P. 22

- คำ�แปลอย่�งไม่เป็นท�งก�ร -






 ข้อ 2.15: การแก้ไขข้อผูกพัน   2.   กรณีที่ภาคีหนึ่งน ามาใช้ข้อห้ามหรือข้อจ ากัดในการส่งออกตามอนุวรรค  2(เอ)  ของข้อ  11
                            ของแกตต์ 1994 ภาคีนั้นจะ เมื่อมีค าร้องขอ
 ในสถานการณ์พิเศษ กรณีภาคีหนึ่งประสบความยากล าบากที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า

 ในการปฏิบัติตามข้อผูกพันทางภาษีของตน ภาคีนั้นอาจแก้ไขหรือเพิกถอนข้อลดหย่อนที่ระบุไว้                (เอ)      แจ้งภาคีอีกฝ่ายหรือกลุ่มภาคีเกี่ยวกับข้อห้ามหรือข้อจ ากัดดังกล่าว และเหตุผล
 ในตารางของตนในภาคผนวก 1 (ตารางข้อผูกพันทางภาษี) โดยความเห็นชอบของภาคีอื่นที่มี                      พร้อมทั้งลักษณะและระยะเวลาที่คาดการณ์ไว้ หรือเผยแพร่ข้อห้ามหรือข้อจ ากัด
 ส่วนได้ส่วนเสียและการตัดสินใจของคณะกรรมการร่วมอาร์เซ็ป ในการที่จะได้รับความตกลงดังกล่าว   ดังกล่าว และ
 ภาคีที่เสนอแก้ไขหรือเพิกถอนข้อลดหย่อนของตน จะแจ้งคณะกรรมการร่วมอาร์เซ็ปและเริ่ม
 การเจรจากับภาคีที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการเจรจาดังกล่าว ภาคีที่เสนอแก้ไขหรือเพิกถอน                     (บี)      ให้ภาคีอีกฝ่ายที่อาจได้รับผลกระทบอย่างร้ายแรง มีโอกาสที่สมเหตุสมผล

 ข้อลดหย่อนของตน จะยังคงระดับข้อลดหย่อนที่ต่างตอบแทนและเป็นประโยชน์ร่วมกันไว้ให้                  ในการปรึกษาหารือเกี่ยวกับประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับข้อห้ามหรือข้อจ ากัดดังกล่าว
 เป็นการอนุเคราะห์ต่อการค้าของภาคีอื่นที่มีส่วนได้ส่วนเสียทุกประเทศโดยไม่ด้อยไปกว่าที่ระบุไว้
 ในความตกลงฉบับนี้ก่อนการเจรจาดังกล่าว ซึ่งอาจรวมถึงการแก้ไขเพื่อชดเชยในส่วนของสินค้าอื่น   ข้อ 2.18: การปรึกษาหารือทางเทคนิคเกี่ยวกับมาตรการที่มิใช่ภาษี

 ผลลัพธ์ของการเจรจาที่ตกลงร่วมกัน รวมถึงการปรับแก้ไขเพื่อชดเชย จะสะท้อนในภาคผนวก  1
 (ตารางข้อผูกพันทางภาษี) ตามข้อ 20.4 (การแก้ไข)    1.   ภาคีหนึ่งอาจร้องขอให้มีการปรึกษาหารือทางเทคนิคกับภาคีอีกฝ่ายเกี่ยวกับมาตรการที่ภาคี
                            นั้นเห็นว่ามีผลกระทบเชิงลบต่อการค้าของตน ค าร้องขอจะเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร
 ส่วน บี                    และระบุมาตรการและข้อกังวลอย่างชัดเจนว่า มาตรการมีผลกระทบเชิงลบอย่างไร

 มาตรการที่มิใช่ภาษี        ต่อการค้าระหว่างภาคีที่ร้องขอให้มีการปรึกษาหารือเชิงเทคนิค (ต่อไปในที่นี้จะเรียกว่า
                            “ภาคีผู้ร้องขอ” ในข้อนี้) และภาคีที่ถูกร้องขอ (ต่อไปในที่นี้จะเรียกว่า “ภาคีที่ได้รับ
 ข้อ 2.16: การใช้มาตรการที่มิใช่ภาษี   การร้องขอ”ในข้อนี้ )

 1.   ภาคีหนึ่งจะไม่น ามาใช้หรือคงไว้ซึ่งมาตรการที่มิใช่ภาษีเกี่ยวกับการน าเข้าสินค้าจากภาคี            2.   ในกรณีที่มาตรการอยู่ในขอบเขตครอบคลุมของบทอื่น กลไกการปรึกษาหารือใด ๆ ที่ระบุไว้

 อีกฝ่ายหรือการส่งออกสินค้าไปยังดินแดนของภาคีอีกฝ่าย ยกเว้นที่เป็นไปตามสิทธิ                 ในบทนั้นจะเป็นกลไกที่น ามาใช้ ยกเว้นจะตกลงไว้เป็นอย่างอื่นระหว่างภาคีผู้ร้องขอ
 และพันธกรณีของภาคีนั้นภายใต้ความตกลงดับบลิว ที โอ หรือความตกลงฉบับนี้   และภาคีที่ได้รับการร้องขอ (ต่อไปในที่นี้ จะเรียกร่วมกันว่า “ภาคีผู้ปรึกษาหารือ” ในข้อนี้)

 2.   ภาคีแต่ละฝ่ายจะท าให้มั่นใจถึงความโปร่งใสของมาตรการที่มิใช่ภาษีของตนที่ได้รับอนุญาต  3.   ยกเว้นที่ได้ระบุไว้ในวรรค 2 ภาคีที่ได้รับการร้องขอจะตอบกลับภาคีผู้ร้องขอและเข้าสู่

 ตามวรรค 1 ของข้อนี้ และท าให้มั่นใจว่า มาตรการดังกล่าวไม่ได้มีการเตรียมการ น ามาใช้   การปรึกษาหารือทางเทคนิคภายใน 60 วันของวันที่ได้รับค าร้องขอเป็นลายลักษณ์อักษร
 หรือบังคับใช้ เพื่อวัตถุประสงค์หรือมีผลกระทบที่จะก่อให้เกิดอุปสรรคที่ไม่จ าเป็นต่อการค้า  ตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ยกเว้นภาคีผู้ปรึกษาหารือจะก าหนดไว้เป็นอย่างอื่น เพื่อหาทางออก

 ระหว่างภาคี                อันเป็นที่พึงพอใจร่วมกันภายใน 180 วันของค าร้องขอ การปรึกษาหารือเชิงเทคนิค
                            อาจด าเนินการผ่านวิธีใด ๆ ที่ภาคีผู้ปรึกษาหารือตกลงร่วมกัน
 ข้อ 2.17: การขจัดข้อจ ากัดด้านปริมาณโดยทั่วไป
                     4.     ยกเว้นที่ได้ระบุไว้ในวรรค 2 ค าร้องขอให้มีการปรึกษาหารือทางเทคนิคจะถูกเวียนแจ้งภาคี
 1.   ยกเว้นจะระบุไว้เป็นอย่างอื่นในความตกลงฉบับนี้ ไม่มีภาคีใดจะน ามาใช้หรือคงไว้ซึ่งข้อห้าม    อื่นทุกภาคี ภาคีอื่นอาจร้องขอเข้าร่วมการปรึกษาหารือทางเทคนิคบนพื้นฐาน

 หรือข้อจ ากัด นอกเหนือจากอากร ภาษีหรือค่าภาระอื่น ๆ ไม่ว่าจะมีผลใช้บังคับผ่านระบบ  ของผลประโยชน์ที่ระบุไว้ในค าร้องขอของตน การเข้าร่วมของภาคีอื่นขึ้นอยู่กับการยินยอม
 โควตา ใบอนุญาตน าเข้าหรือส่งออกหรือมาตรการอื่น ในการน าเข้าสินค้าของภาคีอีกฝ่าย  ของภาคีผู้ปรึกษาหารือ ภาคีผู้ปรึกษาหารือจะพิจารณาค าร้องขอดังกล่าวอย่างครบถ้วน
 หรือการส่งออกสินค้าไปยังดินแดนของภาคีอีกฝ่าย ยกเว้นที่เป็นไปตามสิทธิและพันธกรณี

 ของภาคีนั้นภายใต้บทบัญญัติที่เกี่ยวข้องของความตกลงดับบลิว ที โอ เพื่อการนี้ ให้ข้อ 11   5.   หากภาคีผู้ร้องขอเห็นว่าเป็นประเด็นเร่งด่วนหรือเกี่ยวข้องกับสินค้าที่เน่าเสียง่าย ภาคีนั้น
 ของแกตต์ 1994 รวมอยู่ในและเป็นส่วนหนึ่งของความตกลงฉบับนี้โดยอนุโลม   อาจร้องขอให้มีการปรึกษาหารือทางเทคนิคภายในกรอบเวลาที่สั้นกว่าที่ระบุไว้ในวรรค 3





 2-10                                                       2-11
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27