Page 252 - คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (อาร์เซ็ป)
P. 252

- คำ�แปลอย่�งไม่เป็นท�งก�ร -





 ข้อ 7.7: การชดเชย   2.     ภาคีจะต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อภาคีอื่น ๆ ก่อนบังคับใช้มาตรการปกป้องชั่วคราว
                            ภายใต้กรอบอาร์เซ็ป และต้องเปิดโอกาสให้ภาคีผู้ส่งออกที่มีผลประโยชน์อย่างมีนัยส าคัญ
 1.   ภาคีที่เสนอจะใช้หรือขยายระยะเวลาการใช้มาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัว  ขอปรึกษาหารือทันที หลังมีการใช้มาตรการปกป้องชั่วคราวภายใต้กรอบอาร์เซ็ปดังกล่าว

 ภายใต้กรอบอาร์เซ็ปต้องเปิดโอกาสให้ภาคีผู้ส่งออกที่ได้รับผลกระทบเข้าปรึกษาหารือ
 ภายใน 30 วัน หลังจากวันที่มีการใช้มาตรการ เพื่อเจรจาหาแนวทางการชดเชยทางการค้า  3.   ระยะเวลาการใช้บังคับมาตรการปกป้องชั่วคราวภายใต้กรอบอาร์เซ็ปจะต้องไม่เกิน 200 วัน
 ที่เทียบเท่ากับผลกระทบทางการค้า หรือมูลค่าอากรศุลกากรที่จะถูกเรียกเก็บเพิ่มจาก            และในระหว่างนั้น ภาคีต้องด าเนินการตามที่ก าหนดในวรรค 1 ข้อ 7.4 (การไต่สวน)
 การใช้มาตรการดังกล่าว      ในกรณีที่ผลการไต่สวนตามวรรค 1 ข้อ 7.4 (การไต่สวน) ไม่เป็นไปตามข้อก าหนด
                            ของข้อ 7.2 (ข้อก าหนดการใช้มาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบ
 2.   หากไม่สามารถหาข้อสรุปร่วมกันจากการปรึกษาหารือตามวรรค 1 ภายใน 30 วัน ภาคีใด      อาร์เซ็ป) ภาคีผู้ใช้มาตรการปกป้องชั่วคราวภายใต้กรอบอาร์เซ็ปจะต้องคืนอากรศุลกากร
 ก็ตามที่เป็นผู้ส่งออกสินค้าที่ถูกใช้มาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบ   ที่เรียกเก็บเพิ่มจากการใช้บังคับมาตรการปกป้องชั่วคราวภายใต้กรอบอาร์เซ็ปโดยพลัน

 อาร์เซ็ปอาจระงับการให้สิทธิประโยชน์ที่เทียบเท่าต่อการค้าสินค้ากับภาคีที่ใช้มาตรการ  เพื่อความชัดเจน ระยะเวลาการใช้มาตรการปกป้องชั่วคราวภายใต้กรอบอาร์เซ็ปจะถูกนับ
 ดังกล่าวก็ได้              รวมเป็นส่วนหนึ่งของระยะเวลาการใช้มาตรการปกป้องภายใต้กรอบอาร์เซ็ปทั้งหมด
                            ตามที่ก าหนด ในอนุวรรค 1 (บี) ข้อ 7.5  (ขอบเขตและระยะเวลาของมาตรการปกป้อง

 3.   ภาคีใดก็ตามที่เป็นผู้ส่งออกสินค้าที่ถูกใช้มาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้  ในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซ็ป)
 กรอบอาร์เซ็ปจะต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อภาคีที่ใช้มาตรการปกป้องดังกล่าวล่วงหน้า
 อย่างน้อย 30 วัน ก่อนที่จะด าเนินการระงับการให้สิทธิประโยชน์ตามวรรค 2   4.   ให้น าวรรค 2 ข้อ 7.2 (ข้อก าหนดการใช้มาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้
                            กรอบอาร์เซ็ป) และวรรค 7 ข้อ 7.5 (ขอบเขตและระยะเวลาของมาตรการปกป้อง
 4.   พันธกรณีการให้การชดเชยภายใต้วรรค 1 และสิทธิการระงับการให้สิทธิประโยชน์ตามวรรค 2   ในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซ็ป) และวรรค 1 และ 2 ข้อ 7.10 (บทบัญญัติอื่น ๆ)

 จะยุติลงเมื่อมีการยุติมาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซ็ปนั้น    มาใช้โดยอนุโลมกับมาตรการปกป้องชั่วคราวภายใต้กรอบอาร์เซ็ป

 5.   สิทธิในการระงับการให้สิทธิประโยชน์ตามวรรค 2 จะยังไม่สามารถด าเนินการได้ในช่วง    ข้อ 7.9: มาตรการปกป้องจากการน าเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้น

 สาม (3) ปีแรกที่มาตรการปกป้องในระยะเวลาการปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซ็ปมีผลบังคับ
 ใช้ หากมาตรการปกป้องดังกล่าวเป็นผลมาจากการน าเข้าที่เพิ่มขึ้นโดยชัดแจ้งและเป็นการ  1.   ไม่มีความใดในความตกลงฉบับนี้ที่จะกระทบต่อสิทธิและพันธกรณีของภาคี ภายใต้ข้อ 19
 ด าเนินการที่สอดคล้องกับบทบัญญัติภายใต้ความตกลงฉบับนี้   ของแกตต์ 1994 และความตกลงมาตรการปกป้อง
                                                                     1


 6.   ภาคีประเทศพัฒนาน้อยที่สุดที่มีการใช้หรือต่อขยายระยะเวลาการใช้มาตรการปกป้องจะไม่  2.   เว้นแต่เป็นอย่างอื่นที่ระบุในวรรค 3 ไม่มีความใดในความตกลงฉบับนี้ ที่จะก่อสิทธิหรือสร้าง
 ถูกร้องขอการชดเชยจากภาคีที่ได้รับผลกระทบจากการใช้มาตรการ   พันธกรณีให้แก่ภาคีในการด าเนินการตามข้อ 19 ของแกตต์ 1994 และความตกลง
                            มาตรการปกป้อง
                                          2
 ข้อ 7.8: มาตรการปกป้องชั่วคราวภายใต้กรอบอาร์เซ็ป

                     3.     หากมีการร้องขอจากภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง ภาคีที่พิจารณาจะก าหนดมาตรการปกป้องภายใต้
 1.   ในกรณีที่หากด าเนินการล่าช้าจะก่อให้เกิดผลเสียหายที่ยากแก่การแก้ไข ภาคีผู้น าเข้าอาจใช้  ข้อ 19 ของแกตต์ 1994 และความตกลงมาตรการปกป้อง จะต้องแจ้งประกาศ
 มาตรการปกป้องชั่วคราวภายใต้กรอบอาร์เซ็ปตามที่ก าหนดในอนุวรรค 1 (เอ) หรือ (บี)    เป็นลายลักษณ์อักษรหรือแหล่งทรัพยากรสากล (ยูอาร์แอล) ของข้อมูล หรือรายละเอียด
 ข้อ 7.2 (ข้อก าหนดการใช้มาตรการปกป้องในระยะเวลาปรับตัวภายใต้กรอบอาร์เซ็ป)              ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดของการเปิดการไต่สวน ผลการไต่สวนเบื้องต้น และค าวินิจฉัยของการไต่สวน

 เมื่อผลการพิจารณาเบื้องต้นโดยหน่วยงานผู้มีอ านาจปรากฏหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีการน าเข้า
 สินค้าที่ได้ถิ่นก าเนิดที่เพิ่มขึ้นจากภาคีอีกฝ่ายหนึ่ง หรือ ภาคีอื่น ๆ จากการลดหรือยกเลิก
                     1
                       เพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้น ภาคีแต่ละฝ่ายยังคงสิทธิและพันธกรณีภายใต้ข้อ 5  ของความตกลงว่าด้วยการเกษตร
 อากรศุลกากรตามที่ระบุไว้ภายใต้ความตกลงฉบับนี้ และการน าเข้าที่เพิ่มขึ้นนี้ก่อให้เกิด   ใน ข้อ 20.2 (ความสัมพันธ์กับความตกลงอื่น)
 หรือคุกคามให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่ออุตสาหกรรมภายในของภาคีผู้น าเข้านั้น
                     2   เพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้น ภาคีแต่ละฝ่ายยังคงสิทธิและพันธกรณีภายใต้ข้อ 5  ของความตกลงว่าด้วยการเกษตร
                     ใน ข้อ 20.2 (ความสัมพันธ์กับความตกลงอื่น)
 7-6                                                         7-7
   247   248   249   250   251   252   253   254   255   256   257